รวมข่าวเสวนา ทางวิชาการ: เสรีภาพทางวิชาการกับวิกฤตการเมืองไทย
ประชาไท - วานนี้
(4 ก.ค.50) ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีการจัดเสวนาเรื่อง เสรีภาพทางวิชาการกับวิกฤตการเมืองไทย
ดร.
ดร.ชาญวิทย์ กล่าวต่อว่า การัฐประหาร 19 กันยายน
ได้รื้อฟื้นระบอบอำมาตยาธิปไตยอันมีพลเอกเป็นผู้นำขึ้นมาใหม่
และอาจจะอยู่กับเราไปอีกนาน มีสัญญาณที่น่าวิตกด้วยว่า
เสรีภาพทางวิชาการกำลังถูกคุกคามอย่างหนักจากผู้กุมอำนาจ
มีการจำกัดเสรีภาพในการเผยแพร่หนังสือ เช่น Coup for the Riches
นิตรยสารฟ้าเดียวกัน การปิดเว็บไซต์หมื่นกว่าแห่งในเวลาไม่ถึง 10 เดือน
นอกจากนี้ยังมีการรื้อฟื้นบทบาทของกอ.รมน.
อันเป็นบทบาทของรัฐบาลทหารในสมัยสงครามเย็นและการต่อต้านคอมมิวนิสต์
พร้อมกับปลุกบทบาทกำนันผู้ใหญ่บ้านขึ้นใหม่
บทความของนักหนังสือพิมพ์อย่างกวี
จงกิจถาวรเคยเขียนว่า เว็บที่ถูกปิดเป็น 3 เรื่องใหญ่ๆ คือ เรื่องลามก
เรื่องต่อต้านสถาบันกษัตริย์ และเรื่องต่อต้านทหารกับรัฐบาล
กวีได้วิจารณ์ว่าไทยคงจะหลงทางไปแล้วในห้วงอวกาศของยุคอินเตอร์เน็ต
และมีสถานะไม่ต่างจากพม่า ซาอุดิอารเบีย ตูนีเซีย อิหร่าน ฯ
ส่วนกรณีศ.
ล่าสุดเมื่อเดือนมกราคม 2550
ดร.ชาญวิทย์ได้รับหมายเรียกพยานจากสำนักงานตำรวจแห่งชาติให้ไปให้ปากคำ ซึ่งดร.
คดีนี้นี้ถ้าไม่ใช่เพราะความเข้าใจผิดก็เป็นเพราะมาตรฐานอันต่ำของเสรีภาพทางวิชาการไทย ดร.ชาญวิทย์กล่าว
ผศ.
19 กันยา
เป็นเพียงการฟื้นคืนชีพของปีศาลประชาธิปไตย หลังจากถูกถ่วงน้ำไปเมื่อปี
เขากล่าวต่อว่า ผลของการมีการรัฐประหาร 19 ก.ย.
ทำให้รัฐธรรมนูญ
ซึ่งเคยได้รับความเชื่อมั่นจากผู้คนตลอดว่าเป็นกฎหมายสูงสุดพังทลายลง
ไม่มีใครยอมรับเรื่องนี้จนกลายเป็นวิกฤตการของการยอมรับ
ทั้งที่กฎหมายอยู่ได้ด้วยการยอมรับของประชาชน
นอกจากนี้เขายังแสดงความเสียดายที่การเคลื่อนไหวของพ.ต.ท.
การเคลื่อนไหวของทักษิณและกลุ่มอำนาจเดิม
ตอนนี้ถูกลดทอนเหลือแค่การปกป้องทรัพย์สินของตนเอง ของครอบครัวเท่านั้น
ผศ.ธำรงศักดิ์ ยังอ้างงานวิชาการต่างประเทศที่ระบุว่าบทบาทของทหารมีอย่างเดียวคือ
อำนาจและความมั่นคั่ง และหลังจากนี้ทหารกำลังจะต้องเผชิญหน้ากับภาวะ ตระบัดสัตย์
ซึ่งเป็นคำที่ปรากฏในการเมืองไทยหลายครั้ง
วิกฤตการณ์หลายหนที่เกิดขึ้นก็เกิดขึ้นจากการตระบัดสัตย์
เพราะไม่มีการยึดอำนาจใดที่จะไม่แสวงหาตำแหน่งแห่งที่ในทางการเมืองเพื่อสืบต่ออำนาจของตนเอง
เขากล่าวสรุปว่า น่าแปลกที่ตลอด 10 ปีที่ผ่านมา
มีความพยายามสร้างวัฒนธรรมของประชาธิปไตยและเสรีภาพ แต่เมื่อเกิดวิกฤตทักษิณ และรัฐประหาร 19 กันยายน
วัฒนธรรมอำนาจนิยมก็กลับมาอีกครั้ง และโดยเฉพาะในสถาบันการศึกษาที่หันมาใช้วัฒนธรรมนี้โดยพร้อมเพรียงกัน
ดร.
นั่นคือราคาที่ต้องจ่ายในศตวรรษที่
19 มาถึงศตวรรษที่ 21 การกดเสรีภาพทางวิชาการ และเสรีภาพทางการเมือง
ราคาของมันยิ่งสูงกว่ามากนัก เพราะเป็นยุคของโลกาภิวัตน์
ดร.มรกตกล่าว
ดร.
การขาดทุนทางวัฒนธรรมนี้ทำให้สังคมขาดพลัง
เป็นการฆ่าตัวตายของสังคมไทยในระบบโลกาภิวัตน์ในปัจจุบัน
ดร.มรกตกล่าว
ขณะที่ ธนาพล อิ๋วสกุล
บรรณาธิการนิตยสารฟ้าเดียวกัน ตั้งคำถามว่าอะไรคือนิยามของเสรีภาพและการเซ็นเซอร์ ในความเป็นจริงดูเหมือนจะมีความแตกต่างในการเรียกร้องต่อสู้เพื่อเสรีภาพในบรรดานักวิชาการและนักเคลื่อนไหว
สิ่งที่เราเห็นด้วยแล้วถูกกระทำเราเราเรียกมันว่าการเซ็นเซอร์
แต่เมื่อสิ่งที่เราไม่เห็นด้วยถูกกระทำ
เราจะเรียกมันว่าการเซ็นเซอร์และต่อสู้เรียกร้องเสรีภาพเช่นกันหรือไม่
ธนาพลยังยกตัวอย่างการนิยาม เสรีภาพ
จากจุดที่เชื่อมโยงกับผลประโยชน์ เช่น
การพาดหัวของหนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจที่ระบุว่า การเมืองเปิดทำให้ช่องเนชั่นได้กลับเข้ามาแข่งขันออกอากาศตามสถานีต่างๆ
อีกครั้ง ในขณะที่เขาเห็นว่าบรรยากาศตอนนี้ไม่มีทางที่จะนิยามว่า การเมืองเปิด ได้
นอกจากนี้เขายังตั้งข้อสังเกตอีกว่า
เสรีภาพทางวิชาการไม่ควรจำกัดอยู่เพียงเสรีภาพของนักวิชาการที่อยู่ในรั้วมหาวิทยาลัยเท่านั้น
การนิยามคำว่า วิชาการ
อย่างแคบทำให้งานประเภทอื่นๆ ที่ไม่ถูกนับเป็นวิชาการไม่ได้รับการคุ้มครองเสรีภาพในการแสดงออก
มีการยกตัวอย่างหนังสือเกี่ยวกับปรีดี พนมยงค์
ที่เล่มหนึ่งเขียนในรูปแบบวิชาการเพื่อเชื่อมโยงปรีดีกับกรณีสวรรคตของร.8
ขณะที่อีกเล่มของสุพจน์ ด่านตระกูล เขียนในรูปแบบสารคดีการเมือง
แต่เข้าใกล้ความเป็นจริงของประวัติศาสตร์มากกว่า
ที่จริงแล้ว
เสรีภาพก็คือเสรีภาพ ความจริงก็คือความจริง ธนาพลกล่าว
อาจารย์
นอกจากนี้ยังมีการแสกนนิ้วมือของเจ้าหน้าที่ในคณะเช้า
กลางวัน เย็น เป็นนวัตกรรมใหม่ของการตอกบัตร
และคาดว่าอาจารย์ซึ่งกำลังกลายเป็นพนักงานก็จะต้องทำแบบเดียวกันหากมีการออกนอกระบบอย่างสมบูรณ์
อาจารย์วิภาเสนอว่า
สิ่งที่บรรดาอาจารย์ต้องทำเพื่อให้มีเสรีภาพในทางวิชาการ
หรือเสรีภาพในการแสดงออกต่างๆ รวมถึงอิสระในการทำงาน คือ ต้องตั้งสหภาพแรงงานอาจารย์
เพราะตอนนี้อาจารย์ก็ไม่ต่างอะไรกับพนักงานปกคอขาวอื่นๆ ทั่วไป
ศ.ดร.
ศ.ดร.ผาสุก ยังตั้งข้อสังเกตอีกว่า
ขณะนี้มีการแต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) เพิ่มอีก 11 คน
เป็นเพราะจำนวนสมาชิกที่มีอยู่ตอนนี้ไม่พอที่จะผ่านกฎหมายฉบับนี้หรืออย่างไร
รวมทั้งมีกระแสว่า ร่างกฎหมายนี้ผ่านครม.อยู่ชั้นของคณะกรรมการกฤษฎีกา
และคณะกรรมการกฤษฎีกาก็ออกมาบอกว่าอาจจะเลื่อนพิจารณาไปเป็นปีหน้า
เพราะมีงานล้นมือ
พอดีกับที่ผู้มีอำนาจออกมาให้สัมภาษณ์ว่าอาจต้องเลื่อนการเลือกตั้งไปเป็นปีหน้าเช่นกัน
-----
งานเสวนาจัดโดย
สำนักงานสิทธิมนุษยชนศึกษาและการพัฒนาสังคม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
และ โครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา คณะศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาพประกอบหน้าแรกจาก http://atlasshrugs2000.typepad.com/atlas_shrugs/images/academic_freedom.jpg
Internal Security Act outrages academics
ISOC bill would give Army huge powers 'and must be opposed'
http://www.nationmultimedia.com/2007/07/05/politics/politics_30039437.php
The proposed National Security Act will usher
"It will likely return
"The freedom of academics, NGOs and activists will
be threatened and this is something we must oppose."
He said the draft law would allow future Army chiefs, who
would also serve as head of the Internal Security Operations Command (ISOC), to
arrest people without warrants, detain them for seven days subject to unlimited
renewal of detention orders and ban public gatherings.
Those affected would have no right to petition the court
unless they could prove they had been wrongly prosecuted.
Pasuk said the proposed Thai law was worse than the US
Homeland Security Act of 2002 as the American law still upholds the court's
power and it applies only to foreigners.
Thamrongsak Petchlert-anan, a
"The National Security Act was Sarit's dream
wherein the views of the military become law. It was not realised then but may
now materialise," Thamrongsak said.
He was one of the speakers at a symposium on academic
freedom and the political crisis organised by
The historian said the junta leaders were seriously
putting themselves at risk by not honouring their mission statement for staging
the coup, which claimed it had nothing to do with grabbing power.
Assoc Prof Kritaya Archavanitkul, who heads the human
rights programme at Mahidol, said the attempt to pass the law was the clearest
evidence since the takeover last September that the generals were plotting to
remain in power.
"There will be state within a state where the Army
chief wields immense power. It will destroy the basic rights and liberties of
all parties. Their move [to pass the law] is like a strip dance and even those
[in civil society] who supported the coup are now
having second thoughts."
The true nature and intention of the coup makers had
never changed, he claimed.
"They seek to have instruments that will enable them
to extend their grip on power."
Thammasat historian Thanet Aphornsuwan said that when
looking at
"I'm rather pessimistic."
Pravit Rojanaphruk,
Subhatra Bhumiprabhas
The Nation
BangkokPost July 6, 2007
FREE SPEECH
'Climate of fear' if security bill is passed
ACHARA ASHAYAGACHAT
The national security bill, which increases the
military's power, will create a climate of fear in the
country, a seminar was told yesterday.
Phasuk Phongpaijit, an economist with Chulalongkorn
University, said if the bill is approved, it could
hamper activities launched by activists, politicians,
non-governmental officials and academics who oppose
the government.
''Compared to the US Homeland Security Act, the
national security bill, which empowers the army
commander to be director of the Internal Security
Operations Command (Isoc), will make Thais
defenceless.
''The US law only curbs the rights of immigrants, not
its own citizens as this one does,'' she told a
seminar on curbs on academic freedom and freedom of
speech imposed since the coup.
Charnvit Kasetsiri, a former rector of Thammasat
University, said the Sept 19 coup had already curbed
freedom of expression in society at large, and on
university campuses.
Signs of deteriorating freedom of expression included
self-censorship at universities of books or activities
involving certain academics, and curbs on access to
political websites, he said.
http://www.bangkokpost.com/News/05Jul2007_news06.php
ACADEMIC FREEDOM
Historian calls for unity to fight lawsuit
against author
ACHARA ASHAYAGACHAT
Historian Charnvit Kasetsiri has launched a
fund-raising campaign to fight a defamation charge filed by former
The retired historian was speaking at a
Mr Charnvit will testify at the Bangkhen police
station today as chairman of the exhibition's organising sub-committee for the
centenary celebration of late statesman Pridi Banomyong and director of the
In 2000, the project published The Images of
Pridi Banomyong and Thai Politics: 1932-
Khunying Nongyao filed a defamation charge against
Ms Morakot in August 2006. What she found unacceptable was a newspaper excerpt
in the book which said:
''Nongyao's interviews with the media, that
preparations for receiving Pridi's body and construction of a Pridi monument
was the government's decision, had made students believe the university
administration did not give any importance to the late statesman.''
In an interview with the Bangkok Post, Khunying
Nongyao said: ''The information published in the book was totally false. Why
would I give an interview that ignored Pridi's contributions to
''If it was to exercise academic freedom, the
book should be in the library, not for public consumption and commercial use.
This book has severely damaged my reputation,'' she added.
Khunying Nongyao said she was too busy as a
member of the auditor-general's board at the time of the book's release. She
only recently learned about its disturbing contents and decided to go to court.
Retired associate professor Wutdichai Moolsilpa,
president of the History Society, said the society's board members were equally
disturbed by the lawsuit and would discuss the matter with Ms Morakot, who was
now teaching in
Ms Morakot had made a minor error as she
attributed the excerpt from Siam Mai magazine to Matichon newspaper, he said.
She did not make the comments herself, and it was a pity the lawsuit was filed
against her, he added.
''How can we make the learning of history an
academic pursuit as was originally intended by King Chulachomklao, when he set
up the archaeology club, expecting it to teach Thais both good and bad
lessons?'' Mr Wutdichai said. ''Now it seems we cannot afford to criticise
anything, but only do flattery.''
The Office of the National Culture Commission
at the Ministry of Culture published 1,500 copies of the book to celebrate the
inclusion of Pridi Banomyong's name in a historic calendar of the United
Nations Educational, Scientific and Cultural Organisation.
A former prime minister and founder of
Pridi's contribution to
From: http://www.bangkokpost.com/News/07Feb2007_news17.php
Historians
back academic in defamation case
http://www.nationmultimedia.com/2007/02/07/national/national_30026191.php
Leading historians have launched a campaign to protect academic freedom in
support of Morakot Jewachinda who is facing a defamation charge filed by the
former rector of
The former rector has
accused Morakot of defaming her in her book: "The Images of Pridi
Banomyong and Thai Politics, 1932-1983".
Nongyao said Morakot has
stated in her book that Nongyao had "disrespected" Pridi, an
accusation which she has strongly denied. She claimed her reputation has been
damaged by the book. But support for Morakot appeared to be gaining momentum.
About 60 historians on
Monday held a seminar on the case at Chulalongkorn University (CU) and helped
set up the "History Academic Freedom Fund", to support Morakot.
Chalong Soontravanich at
CU's History Department, said a growing number of
historians are facing threats against their work simply because it is perceived
as challenging previous works and beliefs.
"It is a normal
matter if the case was made by a politician, but not by people who are used to
having a role in protecting academic freedom," Thanongsak said.
He said Morakot's case
has created a climate of fear in academic circles.
"How can we work to
search for the truth?," he asked.
There is also the
concern that such a climate of fear would take its toll on the public's right
to know, he said.
"There are still
many theses that scholars dare not make public out of fear they would face
legal charges or cause public outrage," said senior historian Kanchanee
Laongsri.
In response to Khunying
Nongyao's petition, TU rector Suraphol Nitikraipoj has halted the distribution
of the book since last November.
Meanwhile, former rector
Charnvit Kasetsiri will today give testimony at Bangkaen police station at 6pm,
to give support to Morakot and her book, and state that it was an academic
work.
Subhatra
Bhumiprabhas
The Nation
เสรีภาพในการทำงานวิชาการมีจริงหรือ?
นักวิชาการและสังคมไทยจะสร้างและจะมีเสรีภาพทางวิชาการได้จริงหรือ
เมื่อเสรีภาพทางวิชาการต้องเผชิญหน้ากับอำนาจเผด็จการและทุนเบ็ดเสร็จ
รวมถึงบุคคลสาธารณะ กรณีล่าสุดของมรกต
เจวจินดา หนังสือวิชาการเรื่อง ภาพลักษณ์ปรีดีฯ
กับการถูกฟ้องหมิ่นประมาทโดยอดีตอธิการบดีแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คนหนึ่ง
กำลังสั่นคลอนมายาคติของถ้อยคำ เสรีภาพทางวิชาการ ว่ามีในสังคมวิชาการเป็นอย่างยิ่ง
เมื่อบ่ายวันที่ 28 พฤษภาคม
2550 สองนักวิชาการร่วมเสวนาปัญหา เสรีภาพในการทำงานวิชาการ ในเวทีการอบรมการวิจัยที่จัดโดยศูนย์ส่งเสริมวิจัยและการผลิตตำรา
มหาวิทยาลัยเกริก ณ ศูนย์สัมมนากิตติธเนศวร นครนายก
นักวิชาการจำกัดเสรีภาพของตนเอง?
ดร.
ดร.ชาญวิทย์สรุปว่า
ถ้าบ้านเมืองเราปิดกั้นสังคมปัญญา บ้านเมืองเราก็คงไม่พัฒนา ขณะที่ในอีกด้านหนึ่ง
เราก็จำกัดตัวเอง ปิดตาตัวเอง ซึ่งประเด็นนี้เป็นเรื่องใหญ่มาก
ประวัติศาสตร์ของวงวิชาการในบ้านเรา ก็เพิ่งมีสิ่งที่เรียกว่านักวิชาการจริงๆ ก็เพิ่งทศวรรษ
1960 หรือ 2500 หรือ 40 กว่าปีมานี้
เพราะก่อนหน้านั้นเป็นเพียงผู้สอนในสถาบันฝึกงานให้ราชการไทย
ซึ่งเท่ากับอายุของความเป็นนักวิชาการในบ้านเมืองเราก็ไม่มากเลย
แต่นักวิชาการในปัจจุบันก็ได้รับเชิญเป็นพวกเนติบริกรรัฐศาสตร์บริการ
เป็นใหญ่เป็นโต ดังนั้น นักวิชาการจึงอาจจำกัดเสรีภาพของตนเองก็ได้
จึงทำให้วิชาการเจริญงอกงามได้ไม่ง่ายนัก
อำนาจรัฐเผด็จการกับปัญหาเสรีภาพทางวิชาการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ นักประวัติศาสตร์การเมืองไทย วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม
มหาวิทยาลัยรังสิต เสนอและให้สัมภาษณ์เพิ่มเติมว่า
นักวิชาการส่วนใหญ่ของสังคมไทยไม่มีปัญหาเสรีภาพทางวิชาการ
เพราะส่วนใหญ่สนับสนุนกรอบความรู้เดิมของสังคม
แต่เมื่อนักวิชาการใดเริ่มวิพากษ์กรอบความรู้หรือวาทกรรมเดิมของสังคม
ก็อาจจะต้องเริ่มเผชิญหน้ากับปัญหาเสรีภาพทางวิชาการ เช่น หากมีนักวิชาการวิพากษ์วาทกรรม
สมานฉันท์ ที่ทำให้ทหารเข้ามายึดอำนาจนั้น ว่าเป็นวาทกรรมที่ทำให้ทหารเป็น ตาอยู่ ทางการเมือง คว้าอำนาจคว้าพุงปลาไปได้
การวิพากษ์ในแบบนี้ก็อาจมีปัญหากับกลุ่มที่ครองอำนาจรัฐในปัจจุบัน
และอาจนำมาซึ่งการเผชิญหน้ากับปัญหาเสรีภาพทางวิชาการด้วยเช่นกัน
ทำไมปัญหาเสรีภาพทางวิชาการจึงเป็นประเด็นสำคัญในยุคสมัยปัจจุบัน? รัฐธรรมนูญฉบับปี
2540 และฉบับร่างปี 2550 เขียนไว้ใน มาตรา 42
บุคคลย่อมมีเสรีภาพในทางวิชาการ โดยมาตรานี้ระบุว่า การศึกษาอบรม การเรียนสอน การวิจัย และการเผยแพร่งานวิจัยตามหลักวิชาการ
ย่อมได้รับความคุ้มครอง ทั้งนี้
เท่าที่ไม่ขัดต่อหน้าที่พลเมืองหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน
ซึ่งเสรีภาพทางวิชาการถูกหยิบยกขึ้นมาเป็นข้อสำคัญทางกฎหมายก็น่าเพราะว่า
การต่อสู้กับอำนาจเผด็จการที่ผ่านมา นักวิชาการได้ร่วมต่อสู้ด้วย
และอีกสองกลุ่มที่ต่อสู้อย่างทรงพลังคือ หนังสือพิมพ์ และพลังประชาชน ดังนั้น
อีกสองพลังนี้ก็จะได้รับเสรีภาพที่เขียนไว้ในรัฐธรรมนูญด้วยเช่นกัน
แต่มาตรา 42
เสรีภาพทางวิชาการนี้ เป็นปัญหาจากการเผชิญหน้าและต่อสู้กับอำนาจรัฐเผด็จการ
นั่นคือ อำนาจรัฐไม่สามารถมากำหนดทิศทางการทำงานวิชาการใดๆ หากแต่ยังไม่คุ้มครองในการเผชิญหน้ากับหมายศาลหมายตำรวจหรือหมายของสังคม-นักการเมือง
(ดังเช่นในกรณีงานศึกษาเรื่องการเมืองในอนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี ของอาจารย์
กระบวนการยุติธรรมกับเสรีภาพทางวิชาการที่ยังไม่เป็นจริง?
กรณีบุคคลที่ฟ้องหมิ่นประมาทงานศึกษาวิจัยของนักวิชาการล่าสุดคือ
กรณีศาสตราจารย์ คุณหญิงนงเยาว์
ชัยเสรี อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ฟ้องอาจารย์
รวมๆ แล้ว
การฟ้องโดยวิธีการนี้ กระบวนการยุติธรรมก็ สั่นคลอน
ความสุขและการดำเนินชีวิตปกติของอาจารย์ผู้หญิงตัวเล็กๆ เช่นอาจารย์มรกตได้ร่วมถึง
6 เดือนถึงหนึ่งปีเป็นเบื้องต้น อาจารย์มรกตต้องวิ่งหาทนาย เพราะใครจะไปคิดว่า
งานแบบนี้ของนักวิชาการจะถูกฟ้องได้ ฟ้องหลังการทำวิทยานิพนธ์แล้วเสร็จเกือบสิบปี
หรือหลังตีพิมพ์เป็นหนังสือเล่มแล้ว 6 ปี
ทั้งอาจารย์มรกตต้องเสียค่าใช้จ่ายเบื้องต้นสำหรับทนาย 3 หมื่นบาท
หากอัยการส่งฟ้องศาลก็คงมีค่าทนายร่วมหนึ่งแสนบาทหรืออาจมากกว่านั้น
คำถามก็คือ มาตรา 42
ในรัฐธรรมนูญเรื่องเสรีภาพทางวิชาการจะมีประโยชน์อะไร
หากกระบวนการยุติธรรมตั้งแต่ชั้นตำรวจและอัยการ
และศาลยังไม่เอื้อที่จะทำให้หลักการมาตราที่ 42 แห่งรัฐธรรมนูญนี้ศักดิ์สิทธิ์
นั่นคือ ตามข้อความที่ระบุว่า การเผยแพร่งานวิจัยตามหลักวิชาการย่อมได้รับความคุ้มครอง เพราะตามกฎหมายหมิ่นประมาทก็ชัดเจนตามหลักการเรื่องเจตนา
เรื่องเพื่อความชอบธรรม เรื่องติชมด้วยความเป็นธรรม ตามมาตรา 329 ของกฎหมายอาญา
เมื่อพิจารณารวมกับที่มาของการศึกษาวิจัย ซึ่งในกรณีนี้คือวิทยานิพนธ์ปริญญาโท
อันหมายถึงการวิจัย ย่อมได้รับความคุ้มครองตามหลักการมาตรา 42 เสรีภาพทางวิชาการ
แม้ว่าจริงอยู่ที่งานศึกษาวิจัยย่อมต้องมีขอบเขตเสรีภาพที่จะไม่กระทบต่อชื่อเสียงและหมิ่นประมาทบุคคล
ทว่าประเด็นที่กระบวนการยุติธรรมตั้งแต่เจ้าหน้าที่ตำรวจ อัยการ และศาล ก็พึงสร้างหลักเกณฑ์หรือรับแนวความคิดทางสังคมการเมืองประชาธิปไตยด้วยเช่นกันว่า
บุคคลสาธารณะ ทั้งที่อยู่ในตำแหน่งทางการเมืองและผู้อยู่ในระบบราชการ ผู้เป็นข้าราชการ
ย่อมสามารถถูกตรวจสอบวิพากษ์วิจารณ์
เพราะเรื่องราวนั้นมิได้วิพากษ์หรือตรวจสอบเขาในฐานะบุคคลธรรมดา
แต่พวกเขาเป็นบุคคลสาธารณะ
ถ้ากระบวนการยุติธรรมของไทยยังไม่มีเกณฑ์การพิจารณาเรื่องบุคคลสาธารณะนี้อย่างชัดเจนเพื่อยุติการใช้กระบวนการยุติธรรมกดค้ำคอนักวิชาการ
กระบวนการยุติธรรมก็ยังไม่เอื้อหรือยังไม่สนับสนุนการที่จะทำให้มาตรา 42
ของรัฐธรรมนูญนี้เป็นจริงขึ้นมาได้ ดังนั้น
เสรีภาพทางวิชาการก็ยังคงเป็นเพียงถ้อยคำที่สวยหรูอีกหนึ่งถ้อยคำที่อาจไร้สาระที่แท้จริง
และนักวิชาการก็ต้องตกอยู่ภายใต้วัฒนธรรมเผด็จการทั้งโดยรัฐและโดยบุคคลสาธารณะเช่นเดิม
ระยะเวลาที่นักวิชาการต้องอยู่ในกระบวนการยุติธรรมและปริมาณเงินทองที่อาชีพจนๆ
แบบอาจารย์ต้องเผชิญก็เป็นอุปกรณ์อย่างดีที่บุคคลสาธารณะจะใช้ค้ำคอหลักการเสรีภาพทางวิชาการไว้ไม่ให้เป็นจริงขึ้นมาได้
วัฒนธรรมเสรีภาพทางวิชาการที่ยังไม่ถูกสร้าง?
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธำรงศักดิ์ชี้ว่า
เสรีภาพทางวิชาการไม่อาจเป็นจริงขึ้นมาได้หากสังคมวิชาการยังไม่ร่วมมือกันเพื่อสร้างวัฒนธรรมเสรีภาพทางวิชาการ
กล่าวคือ ร่วมมือช่วยกันพิทักษ์และปกป้องนักวิชาการที่ถูกฟ้องในกระบวนการต่างๆ
สมาคมวิชาชีพของศาสตร์สาขาต่างๆ ทั้งทางสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และประวัติศาสตร์
ที่เป็นศาสตร์ที่ต้องกล่าวถึงมนุษย์ กล่าวถึงศึกษาถึงบุคคลสาธารณะของสังคม
รวมทั้งสถาบันการศึกษาต่างๆ หาก
สมาคมวิชาชีพและสถาบันการศึกษาต่างๆ เหล่านี้ เพิกเฉย เมินเฉย นิ่งเฉย
ยอมรับการกดค้ำคอโดยกระบวนการฟ้องร้องของบุคคลสาธารณะต่อนักวิชาการ
ไม่ออกมาแสดงตนพิทักษ์ สนับสนุน ช่วยเหลือในทุกด้านทั้งกำลังเงิน ทนาย
กำลังใจ หากสภาพยังเป็นอย่างนี้
เราก็คงต้องเลิกพูดถึงความเป็นไปได้ของเสรีภาพทางวิชาการที่แท้จริง